สภาพทั่วไปของจังหวัดยโสธร
1. ลักษณะทางกายภาพ
1.1 ที่ตั้ง จังหวัดยโสธรตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ประมาณ 531 กิโลเมตร (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1, 2, 202) และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ)
1.1 ที่ตั้ง จังหวัดยโสธรตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ประมาณ 531 กิโลเมตร (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1, 2, 202) และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ)
ภาพแสดงที่ตั้งและขอบเขตของจังหวัดยโสธร
1.2 ขนาดพื้นที่ จังหวัดยโสธรมีพื้นที่ 4,161.444 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,600,902.5 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.81 ของพื้นที่ทั่วประเทศ และคิดเป็นร้อยละ 12.89 ของพื้นที่กลุ่มจังหวัด
ที่
|
อำเภอ
|
พื้นที่
|
ระยะทาง (กม.)
| |
ไร่
|
ตร.กม.
| |||
1
|
เมืองยโสธร
|
361,375
|
578.200
|
-
|
2
|
เลิงนกทา
|
589,250
|
942.800
|
69
|
3
|
คำเขื่อนแก้ว
|
399,000
|
638.400
|
23
|
4
|
มหาชนะชัย
|
284,542.5
|
455.268
|
41
|
5
|
กุดชุม
|
340,000
|
544,000
|
37
|
6
|
ป่าติ้ว
|
192,500
|
308.000
|
28
|
7
|
ค้อวัง
|
93,750
|
150.000
|
70
|
8
|
ทรายมูล
|
170,485
|
272.776
|
18
|
9
|
ไทยเจริญ
|
170,000
|
272.000
|
50
|
รวม
|
2,600,902.5
|
4,161.444
|
-
|
ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดยโสธร
1.3 ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
สภาพพื้นที่หรือลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดยโสธร มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันตกลงไปทางทิศตะวันออก พื้นที่ทางตอนเหนือส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงสลับกับพื้นที่แบบลูกคลื่น มีสภาพเป็นป่าและมีแหล่งน้ำขนาดกลาง ได้แก่ ห้วยลิงโจนห้วยสะแบก ลำโพง ลำเซบาย ส่วนพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ เป็นที่ราบลุ่มต่ำสลับซับซ้อนกับสันดินริมน้ำ มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ได้แก่ แม่น้ำชี และขนาดกลาง ได้แก่ ลำน้ำยัง ลำทวนไหลผ่าน ลักษณะดินส่วนมากเป็นดินทรายและดินเค็ม มีหนอง บึง ลำห้วย และแหล่งน้ำขนาดเล็กอยู่ทั่วไป พื้นที่อยู่ในลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล สำหรับภูมิอากาศ จังหวัดยโสธรมี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ความชื้นสัมพัทธ์ เฉลี่ยเท่ากับ 71.1% อุณหภูมิสูงสุด 43 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 11 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยในรอบ 5 ปี (2552 – 2555) เฉลี่ย 1,600 ม.ม.ต่อปี
สภาพพื้นที่หรือลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดยโสธร มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันตกลงไปทางทิศตะวันออก พื้นที่ทางตอนเหนือส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงสลับกับพื้นที่แบบลูกคลื่น มีสภาพเป็นป่าและมีแหล่งน้ำขนาดกลาง ได้แก่ ห้วยลิงโจนห้วยสะแบก ลำโพง ลำเซบาย ส่วนพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ เป็นที่ราบลุ่มต่ำสลับซับซ้อนกับสันดินริมน้ำ มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ได้แก่ แม่น้ำชี และขนาดกลาง ได้แก่ ลำน้ำยัง ลำทวนไหลผ่าน ลักษณะดินส่วนมากเป็นดินทรายและดินเค็ม มีหนอง บึง ลำห้วย และแหล่งน้ำขนาดเล็กอยู่ทั่วไป พื้นที่อยู่ในลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล สำหรับภูมิอากาศ จังหวัดยโสธรมี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ความชื้นสัมพัทธ์ เฉลี่ยเท่ากับ 71.1% อุณหภูมิสูงสุด 43 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 11 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยในรอบ 5 ปี (2552 – 2555) เฉลี่ย 1,600 ม.ม.ต่อปี
2. การปกครองและประชากร
2.1 การปกครอง
2.1.1 อาณาเขต จังหวัดยโสธรมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ดและมุกดาหาร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอำนาจเจริญและอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดศรีสะเกษ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ด
2.1.2 การปกครองท้องที่ และการปกครองส่วนท้องถิ่น
2.1 การปกครอง
2.1.1 อาณาเขต จังหวัดยโสธรมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ดและมุกดาหาร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอำนาจเจริญและอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดศรีสะเกษ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ด
2.1.2 การปกครองท้องที่ และการปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่
|
อำเภอ
|
จำนวน
| ||||||
ตำบล
|
หมู่บ้าน
|
อบจ.
|
เทศบาลนคร
|
เทศบาลเมือง
|
เทศบาลตำบล
|
อบต.
| ||
1
|
เมืองยโสธร
|
17
|
190
|
1
|
-
|
1
|
5
|
12
|
2
|
เลิงนกทา
|
10
|
145
|
-
|
-
|
-
|
9
|
3
|
3
|
คำเขื่อนแก้ว
|
13
|
115
|
-
|
-
|
-
|
2
|
12
|
4
|
มหาชนะชัย
|
10
|
103
|
-
|
-
|
-
|
1
|
10
|
5
|
กุดชุม
|
9
|
128
|
-
|
-
|
-
|
1
|
9
|
6
|
ป่าติ้ว
|
5
|
57
|
-
|
-
|
-
|
1
|
5
|
7
|
ค้อวัง
|
4
|
45
|
-
|
-
|
-
|
1
|
4
|
8
|
ทรายมูล
|
5
|
54
|
-
|
-
|
-
|
2
|
4
|
9
|
ไทยเจริญ
|
5
|
48
|
-
|
-
|
-
|
1
|
4
|
รวม
|
78
|
885
|
1
|
-
|
1
|
23
|
63
|
ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดยโสธร
1) จังหวัดยโสธร แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อำเภอ 78 ตำบล 885 หมู่บ้าน ประกอบด้วย อำเภอเมืองยโสธร อำเภอเลิงนกทา อำเภอไทยเจริญ อำเภอกุดชุม อำเภอทรายมูล อำเภอป่าติ้ว อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอค้อวัง
2) การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัดยโสธรมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 รูปแบบ จำนวน 88 แห่ง แยกเป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 23 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 63 แห่ง
1) จังหวัดยโสธร แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อำเภอ 78 ตำบล 885 หมู่บ้าน ประกอบด้วย อำเภอเมืองยโสธร อำเภอเลิงนกทา อำเภอไทยเจริญ อำเภอกุดชุม อำเภอทรายมูล อำเภอป่าติ้ว อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอค้อวัง
2) การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัดยโสธรมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 รูปแบบ จำนวน 88 แห่ง แยกเป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 23 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 63 แห่ง
2.1.3 จังหวัดยโสธรมีส่วนราชการส่วนภูมิภาคประจำจังหวัด จำนวน 32 ส่วนราชการ
ส่วนราชการส่วนกลางที่มีที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัด จำนวน 36 ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จำนวน 7 แห่ง
2.1.4 องค์กรพัฒนาเอกชนในจังหวัด จังหวัดยโสธรมีองค์กรเอกชนในหลายลักษณะเพื่อพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และส่งเสริมอาชีพ ได้แก่ มูลนิธิ สมาคม สโมสร ชมรม และกลุ่มอาชีพต่างๆ ซึ่งองค์กรที่เด่นชัด และมีบทบาท เช่น หอการค้าจังหวัดยโสธร สภาอุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพจังหวัด สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัด เหล่ากาชาดจังหวัด มูลนิธิรวมสามัคคี และกลุ่มอาชีพในพื้นที่ที่เป็นองค์กรพัฒนาอาชีพสร้างรายได้ที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง อาทิเช่น กลุ่มเกษตรกรทำนานาโส่ อำเภอกุดชุม กลุ่มเกษตรกรทำนาบากเรือ อำเภอมหาชนะชัย กลุ่มเกษตรกรรมธรรมชาติยั่งยืน อำเภอค้อวัง ซึ่งจะผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย์ส่งต่างประเทศ และมีกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปต่างๆ
2.2 ประชากรและโครงสร้างประชากร
1) ข้อมูลประชากรจังหวัดยโสธร ย้อนหลัง 5 ปี (2552 – ปัจจุบัน)
ส่วนราชการส่วนกลางที่มีที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัด จำนวน 36 ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จำนวน 7 แห่ง
2.1.4 องค์กรพัฒนาเอกชนในจังหวัด จังหวัดยโสธรมีองค์กรเอกชนในหลายลักษณะเพื่อพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และส่งเสริมอาชีพ ได้แก่ มูลนิธิ สมาคม สโมสร ชมรม และกลุ่มอาชีพต่างๆ ซึ่งองค์กรที่เด่นชัด และมีบทบาท เช่น หอการค้าจังหวัดยโสธร สภาอุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพจังหวัด สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัด เหล่ากาชาดจังหวัด มูลนิธิรวมสามัคคี และกลุ่มอาชีพในพื้นที่ที่เป็นองค์กรพัฒนาอาชีพสร้างรายได้ที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง อาทิเช่น กลุ่มเกษตรกรทำนานาโส่ อำเภอกุดชุม กลุ่มเกษตรกรทำนาบากเรือ อำเภอมหาชนะชัย กลุ่มเกษตรกรรมธรรมชาติยั่งยืน อำเภอค้อวัง ซึ่งจะผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย์ส่งต่างประเทศ และมีกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปต่างๆ
2.2 ประชากรและโครงสร้างประชากร
1) ข้อมูลประชากรจังหวัดยโสธร ย้อนหลัง 5 ปี (2552 – ปัจจุบัน)
ที่
|
พ.ศ.
|
เพศชาย (คน)
|
เพศหญิง (คน)
|
รวม (คน)
|
หมายเหตุ
|
1
|
2552
|
270,734
|
268,400
|
539,134
| |
2
|
2553
|
270,682
|
268,575
|
539,257
| |
3
|
2554
|
270,306
|
268,547
|
538,853
| |
4
|
2555
|
270,933
|
269,194
|
540,127
| |
5
|
2556
|
271,034
|
269,208
|
540,242
|
(31 ส.ค. 56)
|
ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดยโสธร
2) ประชากร จังหวัดยโสธรมีประชากรทั้งสิ้น จำนวน 540,242 คน เป็นชาย 271,034 คน และหญิง 269,208 คน มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 155,884 ครัวเรือน มีอัตราการเพิ่มธรรมชาติเฉลี่ยร้อยละ 0.45 ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 130 คน/ ตารางกิโลเมตร
ที่
|
อำเภอ
|
ตำบล
|
หมู่บ้าน
|
ครัวเรือน
|
จำนวนประชากร
| ||
ชาย
|
หญิง
|
รวม
| |||||
1
|
เมืองยโสธร
|
17
|
190
|
42,255
|
65,738
|
64,847
|
130,585
|
2
|
เลิงนกทา
|
10
|
145
|
27,159
|
47,771
|
47,856
|
95,627
|
3
|
คำเขื่อนแก้ว
|
13
|
115
|
18,664
|
34,001
|
33,729
|
67,730
|
4
|
มหาชนะชัย
|
10
|
103
|
14,652
|
28,939
|
28,675
|
57,614
|
5
|
กุดชุม
|
9
|
128
|
19,830
|
33,382
|
32,932
|
66,314
|
6
|
ป่าติ้ว
|
5
|
57
|
10,117
|
17,676
|
17,516
|
35,192
|
7
|
ทรายมูล
|
5
|
54
|
8,456
|
15,554
|
15,540
|
31,094
|
8
|
ค้อวัง
|
4
|
45
|
6,394
|
12,785
|
12,972
|
25,757
|
9
|
ไทยเจริญ
|
5
|
48
|
8,357
|
15,188
|
15,141
|
30,329
|
รวม
|
78
|
885
|
155,884
|
270,034
|
269,208
|
540,242
|
ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดยโสธร (ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2556)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น